ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บบล็อกคณิตศาสตร์ของพรชนิตว์ค่ะ

วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่3 ความน่าจะเป็น

กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ

   ในชีวิตประจำวันเรามักจะพบปัญหาเกี่ยวกับการนับจำนวนวิธีทั้งหมดที่เหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเป็นไปได้ หรือจำนวนวิธี ในการจัดชุดของ...อ่านเพิ่มเติม




ความน่าจะเป็น
   
     ในทางสถิติ คำว่า การทดลอง (Experiment)” หมายถึงกระบวนการในการที่จะก่อให้เกิดชุด
ของข้อมูล ชุดของข้อมูลในที่นี้หมายถึงผลทั้งหมดที่เป็นไปได้ที่เกิดขึ้นจากการทดลอง...่อ่านเพิ่มเติม



บทที่ 2 อัตราส่วนตรีโกณมิติ

อัตราส่วนตรีโกณมิติ

     คำว่า “ตรีโกณมิติ” ตรงกับคำ ภาษาอังกฤษ “Trigonometry” หมายถึง การวัด รูปสามเหลี่ยมได้มีการนำความรู้วิชาตรีโกณมิติไปใช้ในการหา...อ่านเพิ่มเติม




การประยุกต์ของอัตราส่วน ตรีโกณมิติ

    ในการแก้ปัญหาระยะทางและความสูง  ซึ่งบางครั้งใช้เครื่องมือวัดโดยตรงไม่ได้ เช่นวัดความสูงของภูเขา...อ่านเพิ่มเติม


บทที่ 1 เลขยกกำลัง

 รากที่ n ของจำนวนจริง

    บทนิยาม  ให้  a , b  เป็นจำนวนจริง  และ   n  เป็นจำนวนเต็มบวกที่มากกว่า  1

 b  เป็นรากที่  n   ของ  a  ก็ต่อเมื่อ  bกำลัง n = a...อ่านเพิ่มเติม



เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะ

     สำหรับเลขยกกำลังที่เป็นที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ ก็คือ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน เพราะ...อ่านเพิ่มเติม




วันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2558

ฟังก์ชันขั้นบันได


   ฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึง ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของจำนวนจริง และมีค่าของฟังก์ชันเป็นค่าคงตัวเป็นช่วงๆ มากกว่าสองช่วง กราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้นบันได... อ่านเพิ่มเติม

ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์

ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ที่อยู่ในรูป y = l x - a l + c เมื่อ a และ c เป็นจำนวนจริง
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนกราฟและหาโดเมนและเรนจ์ของ f(x) = l x   อ่านเพิ่มเติม

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

จากบทนิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า 0 และฐานต้องไม่เป็น 1  อ่านเพิ่มเติม


ฟังก์ชันกำลังสอง

ฟังก์ชันกำลังสอง คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ และ a ≠ 0 ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ a, b และ cเมื่อ a เป็นจำนวนบวกหรือจำนวนลบ จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ  อ่านเพิ่มเติม

สมการเชิงเส้น

  ฟังก์ชันเชิงเส้น n ตัวแปรมีรูปทั่วไป คือ y = a1x1 + a2x2 + a3x3 + … + anxn  ซึ่งในระดับชั้นนี้เราจะพิจารณาฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป y = ax + b เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริง และ a ≠ 0 ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรง  อ่านเพิ่มเติม

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

ในชีวิตประจำวันเรามักพบ สิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ เช่น สินค้ากับราคาของสินค้า คนไทยทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวประชาชนเป็นของตนเอง ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งสองสิ่งที่เกี่ยว ข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง สำหรับในวิชาคณิตศาสตร์มีสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้   อ่านเพิ่มเติม

ค่าสัมบูรณ์

       ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง (absolute value หรือ modulus) คือ ระยะทางที่จำนวนนั้นๆ อยู่ห่างจากศูนย์ (0) บนเส้นจำนวนไม่ว่าจะอยู่ทางซ้ายหรือทางขวาของศูนย์ ซึ่งค่าสัมบูรณ์ของจำนวนใด ๆ จะมีค่าเป็นบวกเสมอ อ่านเพิ่มเติม